บทความ

จริงอยู่ที่ว่าสาร THC ทำให้เกิดอาการเคลิบเคลิ้ม มึนเมาและสาร CBD ไม่ได้มีฤทธิ์แบบนั้น ทำให้คนเข้าใจ ตีตราว่าสาร THC เป็นผู้ร้ายและสาร CBD เป็นพระเอก แต่ในความเป็นจริงสาร THC ก็มีคุณสมบัติในการรักษาหลายๆ อาการ และโรคได้ไม่แพ้สาร CBD เลยอย่างไรก็ตามสาร THC อาจมีผลข้างเคียงที่ชัดเจนมากกว่าสาร CBD

Terpenes เป็นกลุ่มสารประกอบในต้นกัญชาที่มีความสำคัญไม่น้อยกว่าสาร CBD และ THC เรามาดูกันว่ากลุ่มสารเทอร์ปีน (Terpenes) ในกัญชามี บทบาทและประโยชน์อย่างไร?

Cannabidiol (CBD) เป็นสารเคมีที่เกิดขึ้นในพืชกัญชงและกัญชาซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าน้ำมันกัญชา/กัญชงหรือน้ำมัน CBD สามารถช่วยรักษาอาการวัยหมดประจำเดือนหรือที่เรียกว่า “อาการวัยทอง” (Menopause) ได้

เมื่อพูดถึงผู้หญิงกับการใช้กัญชาแล้ว หลายคนอาจจะรู้สึกว่าดูไม่ค่อยเข้ากันเท่าไหร่นัก แต่ปัจจุบันโลกที่กำลังเปลี่ยนไป รวมถึงกฎหมายที่เอื้อต่อการใช้กัญชาในทางการแพทย์ที่แพร่หลายมากขึ้น ทำให้กัญชากับผู้หญิงจึงกลายเป็นประเด็นใหม่ที่กำลังเป็นกระแสอย่างมากในหลาย ๆ ประเทศ นอกจากทางด้านการแพทย์แล้ว อุตสาหกรรมเครื่องสำอางและสินค้าไลฟ์สไตล์ก็ยังเกาะกระแสกัญชาและผลิตสินค้าใหม่ ๆ ที่มีส่วนผสมของกัญชามากขึ้นเพื่อเจาะกลุ่มเป้าหมายผู้หญิงที่รักสวยรักงามและรักสุขภาพ

กัญชาไม่ได้ดีสำหรับทุกช่วงอายุเสมอไป ?... คำนี้อาจจะอธิบายได้ว่า เด็กและวัยรุ่นมีสิ่งที่น่าห่วงมากที่สุดก็คือ ระบบความคิดของสมองที่ยังพัฒนาไม่สุดจนกว่าจะเข้าสู่ช่วงการเป็นผู้ใหญ่ โดยเฉพาะในเรื่องของการหักห้ามตนเอง อาจกล่าวรวมไปถึงการใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ แม้ว่าในบางกรณีประโยชน์ของมันมีมากกว่าความเสี่ยง แต่ทว่านักวิจัยยังต้องมุ่งเน้นการทำวิจัยเรื่องความปลอดภัยของการใช้กัญชาในเด็กและวัยรุ่นมากขึ้น 

เมื่อพูดถึงกัญชาหลายคนอาจจะนึกไม่ออกเลยว่าเเท้จริงแล้วกัญชานั้นมีกี่สายพันธุ์ มีอะไรบ้าง อีกทั้งประโยชน์ของแต่สายพันธุ์เป็นอย่างไร วันนี้ CANNHEALTH ขอพาทุกคนไปทำความรู้จักกับกัญชาสายพันธุ์ต่างๆ พร้อมกับประโยชน์ของเเต่ละสายพันธุ์ว่ามีอะไรบ้าง มาดูกันเลย

 จากการศึกษาวิจัยเบื้องต้น ที่เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2019  ซึ่งนำเสนอที่การประชุมประจำปีครั้งที่ 71 ของสถาบันประสาทวิทยาอเมริกัน (American Academy of Neurology) ในฟิลาเดลเฟีย ระหว่างวันที่ 4 ถึง 10 พฤษภาคม 2019   ระบุว่าการใช้กัญชาเป็นยาเพื่อรักษาทางการแพทย์จะสามารถช่วยบรรเทาอาการเจ็บป่วยในผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพ เช่น อาการเจ็บปวด อาการนอนไม่หลับ หรือความวิตกกังวลเนื่องมาจากภาวะเรื้อรังของโรค ซึ่งรวมไปถึง โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง (ALS) โรคพาร์กินสัน, โรคเส้นประสาทส่วนปลาย ความเสื่อม  ของเส้นประสาทไขสันหลัง โรคปลอกประสาทเสื่อม (MS)  

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้